คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 5 รหัสวิชา ว23101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล โครโมโซม ยีน ความสำคัญของสารพันธุกรรม และกระบวนการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น และผลของความหลากหลายทางชีวภาพ ผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ต่าง ๆ ในท้องถิ่น และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศน์ ความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ และการนำไปใช้ประโยชน์ ประชากรในระบบนิเวศน์ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และแนวทางการแก้ไขปัญหา การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนคุ้มค่า และแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้และปลูกฝัง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชด้วยการนำงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมาบูรณาการสู่การจัดการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ว 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
ว 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
รวม 16 ตัวชี้วัด
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 5 รหัสวิชา ว23101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เวลา 60 ชั่วโมง
จำนวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล โครโมโซม ยีน ความสำคัญของสารพันธุกรรม และกระบวนการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น และผลของความหลากหลายทางชีวภาพ ผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ต่าง ๆ ในท้องถิ่น และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศน์ ความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ และการนำไปใช้ประโยชน์ ประชากรในระบบนิเวศน์ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และแนวทางการแก้ไขปัญหา การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนคุ้มค่า และแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้และปลูกฝัง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชด้วยการนำงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมาบูรณาการสู่การจัดการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ว 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
ว 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
รวม 16 ตัวชี้วัด